หมวดคนพาล-บัณฑิต
[The fool-The-wise]
1. ทีฆา ชาครโต รตฺติ
ทีฆํ สนฺตสฺส
โยชนํ
ทีโฆ พาลาน
สํสาโร สทฺธมฺมํ
วิชานตํ ฯ
ราตรีนาน
สำหรับคนนอนไม่หลับ
ระยะทางโยชน์หนึ่งไกล
สำหรับผู้ล้าแล้ว
สังสารวัฏยาวนาน สำหรับคนพาล
ผู้ไม่รู้แจ้งพระสัทธรรม .
Long is the night to the wakeful
Long is the Yojana to the weary
Long is Sangsara to the foolish
Who know not the true doctrine .
2. จรญฺเจ
นาธิคจฺเฉยฺย
เสยฺยํ สทิสมตฺตโน
เอกจริยํ
ทฬฺหํ กยิรา นตฺถิ
พาลา สหายตา ฯ
ถ้าหากแสวงหาแล้วไม่พบเพื่อนที่ดีกว่าตน
หรือเพื่อนที่เสมอกับตน
เที่ยวไปคนเดียวยังดีกว่า
เพราะมิครภาพ
ไม่มีในหมู่คนพาล .
If, as he fares, he finds no companion
Who is better or equal
Let him firmly pursue his solitary course
There is no fellowship with the fool.
3. ปุตฺตามตฺถิ ธนมตฺถิ
อิติ พาโล
วิหญฺญติ
อตฺตา หิ อตฺตโน
นตฺถิ กุโต ปุตฺตา
กุโต ธนํ ฯ
คนโง่มัวคิดวุ่นวายว่า
เรามีลูกเรามีทรัพย์
ก็ตัวเขาเองยังไม่ใช่ของเขา
ลูกและทรัพย์จะเป็นของเขาได้อย่างไร
.
' I have sons, I have wealth'
So thinks the fool and is troubled
He himself is not his own
How there are sons, how
wealth ?
4. โย พาโล
มญฺญตี พาลฺยํ
ปณฺฑิโต วาปิ เตน โส
พาโล จ
ปณฺฑิตมานี
ส เว พาโลติ วุจฺจติ ฯ
คนโง่ รู้ตัวว่าโง่
ยังพอมีทางเป็นคนฉลาดได้บ้าง
คนโง่ แต่อวดฉลาด
นั่นแหละเขาเรียกว่า คนโง่แท้.
A
fool aware of his stupidity
Is in so far wise
But the fool thinking himself wise
Is called a fool indeed.
5.
ยาวชีวมฺปิ เจ พาโล
ปณฺฑิตํ ปยิรุปาสติ
น โส ธมฺมํ
วิชานาติ ทพฺพิ
สูปรสํ ยถา ฯ
ถึงจะอยู่ใกล้บัณฑิต
เป็นเวลานานชั่วชีวิต
คนโง่ก็หารู้จักความดีไม่
เหมือนทัพพีไม่รู้รสแกง .
Though
through all his life
A fool associates with a wise man
He yet understands not the Dharma
As the spoon the flavour of soup.
6. มุหุตฺตมปิ เจ วิญฺญู
ปณฺฑิตํ
ปยิรุปาสติ
ขิปฺปํ ธมฺมํ
วิชานาติ ชิวฺหา
สูปรสํ ยถา ฯ
ปัญญาชนคบบัณฑิตแม้เพียงครู่เดียว
ก็พลันรู้แจ้งพระธรรม
เหมือนลิ้นรู้รสแกง .
Though, for a monent only
An intellingen man associates with a wise
man
Quickly he unerestands the Dharma
As the tongue the flavour of soup.
7. น ตํ กมฺมํ กตํ
สาธุ ยํ กตฺวา
อนุตปฺปติ
ยสฺส
อสฺสุมุโข โรทํ
วิปากํ ปฏิเสวติ ฯ
กรรมใดทำแล้วเดือดร้อนภายหลัง
อีกทั้งทำให้ร้องไห้น้ำตานอง
ต้องรับผลของการกระทำ
กรรมนั้นไม่ดีเลย .
That deed is not well done
After doing which one feels remorse
And the fruit where of
is received
With tears and lamentations.
8. ตญฺจ กมฺมํ กตํ
สาธุ ยํ กตฺวา
นานุตปฺปติ
ยสฺส ปตีโต
สุมโน
วิปากํ ปฏิเสวติ ฯ
กรรมใดทำแล้วไม่เดือดร้อนภายหลัง
อีกทั้งผู้ทำก็เบิกบานสำราญใจ
ได้รับผลของการกระทำ
กรรมนั้นดีนักแล .
Well done is that deed
Which, done. brings no regret
And the fruit where of
is received
With delight and satisfaction .
9. มธุวา มญฺญตี พาลา
ยาว ปาปํ น
ปจฺจติ
ยทา จ ปจฺจตี
ปาปํ อถ
พาโล ทุกฺขํ นิคจฺฉติ ฯ
ตลอดระยะเวลาที่บาปยังไม่ให้ผล
คนพาลสำคัญบาปหวานปานน้ำผึ้ง
เมื่อใดบาปให้ผล
เมื่อนั้นเขาย่อมได้รับความทุกข์
.
An evil deee seems sweet to the fool
So long as is does not bear fruit.
But when it ripens
The fool comes to grief .
10. มาเส มาเม กุสคฺเคน
พาโล ภุญฺเชถ
โภชนํ
น โส
สงฺขาตธมฺมานํ
กลํ อคฺฆติ โสฬสึ ฯ
คนโง่
ถึงจะบำเพ็ญตบะโดยเอาปลายหญ้าคาจิ้มอาหาร
ทุกเดือน
การปฎิบัติของเขาไม่เท่าหนึ่งในสิบหกส่วนของการปฎิบัติของผู้บรรลุธรรม.
Month after month the fool may eat
his food
With the tip of kusa grass
Nonetheless he is not worth the
sixteenth part
Of those who have well understood
the Truth.
11. น หิ ปาปํ กตํ กมฺมํ
สชฺชุ ขีรํว
มุจฺจติ
ฑหนฺติ
พาลมเนฺวติ
ภสฺมาจฺฉนฺโนว ปาวโก ฯ
กรรมชั่วที่ทำแล้ว
ยังให้ผลทันทีทันใด
เหมือนนมรีดใหม่ ๆ
ไม่กลายเป็นนมเปรี้ยวในทันที
แต่มันจะค่อย ๆ
เผาผลาญผู้กระทำในภายหลัง
เหมือนไฟไหม้แกลบ.
An evil deed committed
Does not immediately bear
fruit
Just as milk curdles not at
once
Smouldering kike fire covered
by ashes
It follows the fool.
|